Monday, July 29, 2013

แบบทดสอบภาษาไทย ม.3


<HTML>
<HEAD>
   <meta name="description" content="ทดสอบ">
   <meta name="keywords" content="ทดสอบ">
   <title>แบบทดสอบเรื่อง การอ่านวินิจสาร จำนวน 10  ข้อ</title>
   <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=windows-874">
   <style type="text/css"> a {color: #0000FF; text-decoration: none} a:hover
      {color: #FF0000; text-decoration: underline} </style>
   <style type=text/css>body {padding-right : 0px; padding-left : 20px;
     padding-bottom : 0px; margin : 0px; padding-top : 0px }</style>

<SCRIPT LANGUAGE="JavaScript">
var speechstr='"';
var A1= new String
var A2= new String
var A3= new String
var A4= new String
var A5= new String
var A6= new String
var A7= new String
var A8= new String
var A9= new String
var A10= new String
var CkAns=0

function MarkAnswers()
{
   var i=0
   t=10
   info="toolbarno,location=no,directories=no,directories=no,status=no,menubar=no,height=400,width=400,"
   info+="scrollbars=yes,resizable=yes"
   Answers=window.open("","msgWindow",info)
   Answers.opener=window;
   Answers.name="opener";
   Answers.document.clear;
   Answers.document.write("<HEAD><TITLE>ตรวจคำตอบ...</TITLE></HEAD>");
   CkAns=CkAns+1;
   if (A1.toLowerCase()=="4")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A2.toLowerCase()=="4")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A3.toLowerCase()=="1")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A4.toLowerCase()=="1")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A5.toLowerCase()=="1")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A6.toLowerCase()=="2")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A7.toLowerCase()=="3")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A8.toLowerCase()=="1")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A9.toLowerCase()=="3")
   {
      i=i+1;
   }
   if (A10.toLowerCase()=="3")
   {
      i=i+1;
   }
   Answers.document.write("<BODY BGCOLOR=#B6F88B ALINK=#0080C0 LINK=#0080C0 VLINK=#0080C0>");
   Answers.document.write("<p align=Left><B><FONT SIZE=3 FACE="+speechstr+"MS Sans Serif"+speechstr+" COLOR=#0033CC>ตรวจคำตอบ...ครั้งที่ "+CkAns.toString()+"</B></FONT></p>");
   Answers.document.write("<p align=Left><B><FONT SIZE=3 FACE="+speechstr+"MS Sans Serif"+speechstr+" COLOR=#0033CC>คุณได้คะแนน "+i.toString()+" / "+t.toString()+"</B></FONT></p>");
   var currentGrade=new String
   var currentComment=new String
   currentGrade=""
   currentComment=""
   if (i>=0)
   {
      currentGrade="F";
      currentComment=" แย่จังทำไม่ได้เลย !";
   }
   if (i>=5)
   {
      currentGrade="D";
      currentComment=" ทำได้น้อยมาก ควรปรับปรุง";
   }
   if (i>=6)
   {
      currentGrade="C";
      currentComment=" ทำได้ไม่เลวเลย อยู่ในระดับพอใช้";
   }
   if (i>=7)
   {
      currentGrade="B";
      currentComment=" อยู่ในระดับดีมาก !";
   }
   if (i>=8)
   {
      currentGrade="A";
      currentComment=" เก่งมากคุณยอดเยี่ยมที่สุด !";
   }
   Answers.document.write('<p align=center><form name="form2"><input type="button" value="ปิดกรอบตรวจคำตอบ" name="Close1" ONCLICK="window.close()"></form></p>');
   Answers.document.write('<p align=center><b><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC><font size=1><a href="http://www.kr.ac.th" target="_blank">http://www.kr.ac.th</a></font></B></FONT></b></p>');
}
</SCRIPT>
</HEAD>
<BODY BGCOLOR=#FFFFFF ALINK=#0080C0 LINK=#0080C0 VLINK=#0080C0>
<br>
<center><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>วิชาภาษาไทย(รหัส  ท 23101) ระดับ  มัธยมศึกษาปีที่ 3<BR>
เรื่อง การอ่านวินิจสาร จำนวน 10  ข้อ<br>
โดย ด.ญ. เพ็ญนภา    สิงห์ยอง  โรงเรียนผาแดงวิทยา<br>
คำสั่ง เลือกคลิกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด</B></FONT></center>
<form name="form1" ONSUBMIT="MarkAnswers()">
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 1)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการอ่านตีความ</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R1" ONCLICK="A1='1'">ศึกษาน้ำเสียงของผู้เขียน</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R1" ONCLICK="A1='2'">ทำความเข้าใจความหมาย</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R1" ONCLICK="A1='3'">ศึกษาหลักการและกลวีเขียน</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R1" ONCLICK="A1='4'">ศึกษาจุดประสงค์ของการเขียน</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 2)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดจัดอยู่ในประเภทร้อยกรอง</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R2" ONCLICK="A2='1'">สารคดี</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R2" ONCLICK="A2='2'">นวนิยาย</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R2" ONCLICK="A2='3'">บทความ</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R2" ONCLICK="A2='4'">กวีนิพนธ์</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 3)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดเป็นวิธีการอ่านตีความร้อยกรอง</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R3" ONCLICK="A3='1'">ตีความจากสระสำคัญของเรื่อง</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R3" ONCLICK="A3='2'">ตีความถ้อยคำโดยพิจารณาจากบทบาท</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R3" ONCLICK="A3='3'">ตีความข้อความโดยเปรียบเทียบสำนวนโวหารที่ใช้</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R3" ONCLICK="A3='4'">ตีความโดยทำความเข้าใจเรื่องภาษาภาพพจน์ที่ใช้ในงานเขียน</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 4)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> การวิเคราะห์สารหมายความว่าอย่างไร</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R4" ONCLICK="A4='1'">การแยกแยะส่วนประกอบต่างๆ</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R4" ONCLICK="A4='2'">การอธิบายลักษณะของงานเขียน</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R4" ONCLICK="A4='3'">การสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการเขียน</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R4" ONCLICK="A4='4'">การแสดงความคิดเห็นทั้งบวกและลบ</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 5)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> การวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R5" ONCLICK="A5='1'">การแสดงความคิดเห็น</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R5" ONCLICK="A5='2'">การแยกแยะ</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R5" ONCLICK="A5='3'">การอธิบาย</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R5" ONCLICK="A5='4'">การสรุป</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 6)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดเรียงลำดับถูกต้อง</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R6" ONCLICK="A6='1'">เล่าเรื่อง      วิเคราะห์เรื่อง     กล่าวถึงบทบาท     บอกจุดมุ่งหมาย      ประเมินค่า</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R6" ONCLICK="A6='2'">เล่าเรื่อง      บอกจุดมุ่งหมาย      วิเคราะห์เรื่อง     กล่าวถึงบทบาท     ประเมินค่า</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R6" ONCLICK="A6='3'">เล่าเรื่อง      กล่าวถึงบทบาท     บอกจุดมุ่งหมาย      วิเคราะห์เรื่อง     ประเมินค่า</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R6" ONCLICK="A6='4'">เล่าเรื่อง      วิเคราะห์เรื่อง     กล่าวถึงบทบาท     บอกจุดมุ่งหมาย      ประเมินค่า</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 7)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> บริบทที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านคือข้อใด</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R7" ONCLICK="A7='1'">ความหมายคำศัพท์</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R7" ONCLICK="A7='2'">ความรู้สึกต่อเรื่อง</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R7" ONCLICK="A7='3'">ประวัติการแต่ง</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R7" ONCLICK="A7='4'">ข้อคิดที่แฝงอยู่</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 8)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดเป็นคุณค่าด้านวรรณศิลป์</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R8" ONCLICK="A8='1'">ความงามทางภาษา</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R8" ONCLICK="A8='2'">ความเป็นไปได้</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R8" ONCLICK="A8='3'">ความถูกต้อง</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R8" ONCLICK="A8='4'">ความคิด</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 9)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดที่ทำให้การอ่านวินิจสารมีความลึกซึ้งแตกต่างจากการอ่านจับใจความสำคัญ</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R9" ONCLICK="A9='1'">การสรุปเนื้อหา</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R9" ONCLICK="A9='2'">การบอกประเภท</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R9" ONCLICK="A9='3'">การประเมินคุณค่า</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R9" ONCLICK="A9='4'">การบอกองค์ประกอบ</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#0033CC>ข้อที่ 10)</B></FONT><br><B><FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000> ข้อใดคือขั้นตอนก่อนการวิเคราะห์   วิจารณ์</B></FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R10" ONCLICK="A10='1'">ศึกษาบริบท</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R10" ONCLICK="A10='2'">อ่านเรื่องคร่าวๆ</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R10" ONCLICK="A10='3'">อ่านเรื่องละเอียด</FONT><br>
   <FONT SIZE=2 FACE="MS Sans Serif" COLOR=#000000>&nbsp;&nbsp;&nbsp;<input type="radio" name="R10" ONCLICK="A10='4'">ค้นสิ่งที่เกี่ยว</FONT><br>
<HR align=Left WIDTH=95%>
   <p></p><p align=center><input type="button" value="ตรวจคำตอบ" name="markbtn" ONCLICK="MarkAnswers()"></p><br>
</form>
</body>
</html>

Sunday, July 14, 2013

บทที่7 รู้ตำนานสืบสานวัฒนธรรม

บทที่ 7
รู้ตำนานสืบสานวัฒนธรรม

ก็สมบัติมหาศาล จะมีประโยชน์

เมื่อจ้าของตายลง


เปิงซงกราน

     อดีตกาลนานมาแล้ว นับตั้งต้นภัทรกัป  ยังมีเศรษฐีผู้หนึ่งมั่งคั่งบริบรูณ์ด้วยทรัพย์สมบัติแก้วแหวนเงินทอง จะขาดอยู่ก็แต่ทายาทที่จะรับสืบทอดมรดกมหาศาลนี้เท่านั้น  เศรษฐีก็มิได้รู้สึกเดือดเนื้อร้อนใจแต่ประการใด  คิดเสียว่าสักวันหนึ่งก็คงจะสมปรารถนา
       
 จนกระทั่งวันหนึ่ง เกิดเหตุด้วยนักเลงสุราข้างคฤหาสน์เศรษฐี   นั้นเองคงจะเมาหนักกว่าปรกติ จึงล่วงล้ำเข้าไปถึงในเขตบ้านเท่านเศรษฐี   มีหนำซ้ำยังกล่าวถ้อยคำเป็นเชิงเยาะเย้ยดูหมิ่นเจ้าของบ้านเสียอีก้วย เศรษฐีอดรนทนไม่ได้จึงถามขึ้นว่า
         เจ้านี่ใครกัน อวดดียังไงจึงเข้ามาอาละวาดถึงในบ้านเราไม่รู้รึว่าเราเป็นคหบดีที่ผู้คนนับถือตากันทั้งเมือง  เจ้าล่วงล้ำเข้ามาในบ้านแล้ว ยังมากล่าววาจาจ้วงจาบหยาบช้าเอากับเราถึงเพียงนี้
         นักเลงดีตอบอย่างไม่พรั่นพึงว่า
          ''กะแค่มีสมบัติมากเท่านี้  เราไม่เห็นจะแปลก ท่านร่ำรวยเป็นเศรษฐี ก็ดีอยู่หรอก  แต่อีกหน่อยท่านก้ต้องตายแล้วท่านจะเอาสมบัติพวกนี้้ไปได้หรือเปล่าล่ะ ลูกเต้าที่มาสืบทอดมรดก ทำบุญทำทานไปให้ท่านก็ไม่มีสักคน  แล้วสมบัติของท่านนี่จะมีประโยชน์ เรานี่เสียอีก แม้จะจนแต่แต่เราก็มีลูกชายหน้าตาผิิวพรรณหมดจดงดงามถึง 2 คน  เราตายไปลูกเราก็จะดูแลข้าวของเงินทอง ที่เราทิ้งไว้ ทำบุญส่งไปให้เราได้ ท่านจะมามีดีกว่าเราที่ตรงไหนิ 
           เศรษฐีฟังแล้วถึงแก่อาการอ้ำอึ้งนึกเห็นคล้อยเห็นตามวาจาของนักเลงสุราฝีปากดี  ก็สมบัติมหาศาลนั้นจะมีประโยชน์อันใดเมื่อเจ้าของตายลง  คิดแล้วเศรษฐีก็ร้อนรุ่มกลุ้ลใจมาขึ้นมาทันที  ที่เคยไม่สนใจเรื่่ิองทายาทสืบตระกูล ก็ชักจะกระวนกระวายหนักถึงขั้นกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ครุนคิดแต่จะหาทางมีลูกมารับมรดกตกทอดเมื่อตัวตาย
             เมื่อได้ลูกชายสมความปรารถนา  เศรษฐีก็ชื่นชมโสมนัสยิ่งนักถึงกับปลูปราสาท ๗ ชั้นให้ลูกชายเศรษฐีมีชื่อว่า  ธรรมบาลกุมารปราสาทนั้นก็อยู่ใกล้ๆ  ต้นไทรริมน้ำนั้นเอง คงด้วยเห็นว่าบุตรที่ได้มานี้เป็นเพราะพระไทรประทานให้
       เนื่องจากปราสาทของธรรมบาลกุมารอยู่ติดกับต้นไทร ธรรมบาลก็เลยพลอยได้ใกล้ชิดกับบรรดาฝูงนกที่มาเกาะมากินผลไทร จนถึงกับรู้ภาษานกในที่สุด และนอกจากภาษานกแล้วธรรมบาลก็ยังได้ร่ำเรียนไตรเพท หรือพระเวททั้งสามอันเป็นวิชาความรู้สูงในสมัยนั้นสำเร็จเสร็จสิ้นเมื่ออายุเพียง ๗ ขวบ  และกลายเป็นผู้มีความสามารถบอกฤกษ์ยาม และอธิบายข้อปัญหาขัดข้องแก่ชนทั้งหลายได้ด้วยปัญญาอันลึกซึ้งยิ่งนัก
         ในชมพูทวีปสมัยนั้น ผู้คนล้วนนับถือท้าวมหาพรหมและท้าวบิลพรหม ซึ่งเป็นผู้บอกมงคลแก่มนุษย์  เมื่อธรรมบาลมาตั้งตนเป็นอาจารย์บอกมงคลฤกษ์ยามอีกคนหนึ่ง  ท้าวกบิลพรหมใคร่จะทดลองปัญญาของธรรมปาลว่าจะแก่กล้าสักเพียงใด จึงตั้งปัญหา ๓ ข้อให้ธรรมบาลแก้ ถ้าแก้ได้ ท้าวจะตัดเศียรตนบูชาธรรมบาล แต่ถ้าแก้ไม่ได้ ตนก็ต้องตัดเศียรบูชาท้าวกบิลพรหมเช่นกัน   ปัญหามีว่า
                            เวลาเช้า                         สิริอยู่ที่ไหน
                            เวลากลางวัน                 สิริอยู่ที่ไหน
                           เวลาเย็น                         สิริอยู่ที่ไหน
            ธรรมบาลขอเวลา  ๗  วัน  แต่จนถึงวันสุดท้ายก็คิดไม่ออกโทมนัสกลัวว่ารุ้งขึ้นจะต้องตัดหัวบูชาท้าวกบิลพรหม  ธรรมบาลจึงไปนอนรำพึงรำพันใต้ต้นตาลคู่  ขณะที่นอนอยู่  ก็ได้ยินเสียงนกอินทรีสองผัวเมียคุยกันว่า รุ้งขึ้นจะไปหาอาหารที่ไหน นกตัวผู้บอกว่า  ไม่ต้องกังวล เรื่องหาอาหาร  พรุ่งนี้จะต้องได้กินเนื้อธรรมบาลแน่นอน เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้ก็ต้องถูกตัดหัว  นกตัวเมียจึงถามว่าปัญหานั้นว่าอะไร นกตัวผู้ก็บอกให้ แถมเฉลยอีกด้วย  ธรรมบาลเลยพลอยได้ยินข้อเฉลย
            เมื่อถึงกำหนด  ท้าวกบิลพรหมก็มาฟังข้อเฉลย ธรรมบาลกุมารจึงไขว่า
            
            เวลาเช้าสิริอยู่ที่หน้า  ชนทั้งหลายจึงเอาน้ำลูบหน้าปราศมลทิน  เวลา

กลางวันสิริอยู่ที่อก ชนทั้งหลายจึงเอาน้ำประพรมอก เวลาเย็นสิริอยู่ที่เท้า ชน


ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างเท้าก่อนนอน

            
            ธรรมบาลตอบถูก ท้าวกบิลพรหมต้องตัดหัวตามสัญญา ท้าวจึงเรียก

ธิดาท้ังเจ็ดพร้อมหน้ากันเเล้วสั่งว่า

            
            พ่อต้องถูกตัดหัวตามสัญญา เเต่หัวของพ่อนั้น  ถ้าวางไว้บนพื้นพิภพ 

จะเกิดไฟไหม้ทั้งแผ่นดิน  ถ้าโยนขึ้นในอากาศ ฝนฟ้าจะแล้ง  ถ้าทิ้งใน


มหาสมุทร  น้ำก็จะแห้ง เจ้าจงเอาพานมาคอยรับหัวพ่อนี้เถิด


            เมื่อสั่งเสียเเล้ว ท้าวก็ตัดหัวตนออกบูชาธรรมบาล ธิดาองค์โตนามว่า 


ทุงษะ จึงเอาพานมารองรับหัวพ่อไว้แห่แหนประทักษิณรอบเขาพระสุเมร เเล้ว


จึงนำไปประดิษฐานไว้ในพรหมโลก  แต่นั้นมาเมื่อครบรอบวันสงกรานต์  ธิดา


ทั้งเจ็ด จะผลัดเปลี่ยนเวียนกันนำหัวของเท้ากบิลพรหมแห่รอบเขาพระสุเมรุปี


ละคร้ังสืบมา


     
           ตำนาน
          
    ตำนานหมายถึงเรื่องที่เล่าต่อๆกันมา เป็นเรื่องเกี่ยวกับบุคคล ปูชนียวัตถุหรือสถานที่สำคัญ ที่มาของประเพณีหรือพิธีกรรม
          ลักษณะตำนานเป็นเรื่องเหนือจริงหรือสัมพันธ์กับความเป็นจริง แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาบรรพชนและความเป็นมาของชนชาติ เช่น
          
         ความเชื่อคตินิยมเรื่องสิริ
          
     สิริหมายถึง มงคล สิ่งที่จะนำความโชคดี ความเจริญและความสุขมาให้ซ้อนกับคำว่ามงคล  ยกตัวอย่างความเชื่อเรื่องสิริในเวลาเช้าจะอยู่ที่ใบหน้า เวลากลางวันจะอยู่ที่อกและเวลาเย็นจะอยู่ที่เท้า

        ความเชื่อเรื่องมีบุตรชายสืบตระกูล
   
     ความเชื่อของชาวมอญ รับมาจากวัฒนธรรมพราหมณ์ ฮินดูว่า ถ้ามีบุตรชายจะทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ตนและวิญญาณบรรพบุรุษได้ ในสังคมโบราณเป็นสังคมเกษตรก็ต้องการแรงงานผู้ชายมาทำงานรักษาผืนนาและทรัพย์สมบัติอื่นให้ลูกหลานในภายหน้า
           
      ตำนานวันสงกรานต์วันขึ้นปีใหม่ไทย

          ในรอบ ๑ปีจะมี ๒ วัน ซึ่งจะสังเกตความเปลี่ยนแปลงของฤดูได้ดีที่สุดคือ วันที่ ๒๑ มี.ค.เป็นช่วงเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนตามลำดับ และวันที่ ๒๒ ก.ย.เป็นช่วงเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาวตามลำดับ จึงได้กำหนดให้ปลายเดือนมีนาคมและต้นเดือนเมษายนเป็นวันเริ่มต้นปีใหม่ ซึ่งตรงกับปฏิทินไทยตามคติมอญ
          ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ให้ถือเอาวันที่ ๑ เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ จนในสมัยจอมพลป.พิบูลสงครามได้ถือเอาวันที่ ๑ มกราคมเป็นวันเริ่มต้นปีใหม่ตามตะวันตก
          คำว่า สงกรานต์มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่าก้าวไปพร้อมกันคือวันที่พระอาทิตย์ย้ายจากราศีหนึ่งไปสู่ราศีหนึ่ง
          ไทยถือเอาวันที่ ๑๒ ก่อนวันสงกรานต์เป็นเทศกาลสิ้นปี วันที่ ๑๓ เป็นวันมหาสงกรานต์หรือวันปีใหม่ วันที่ ๑๔ เป็นวันเนาเป็นวันที่พระอาทิตย์ประทับในราศีเมษ  วันที่ ๑๕ เป็นวันเถลิงศกขึ้นศักราชใหม่ ศักราชที่เปลี่ยนในช่วงสงกรานต์เราเรียกว่าจุลศักราช
          เมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์จะมีประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย เพราะเชื่อว่าทุกย่างก้าวที่เราออกจากวัดมักจะนำทรายติดเท้าออกนอกวันจึงต้องขนทรายเข้ามาในวัดอีกครั้งหนึ่ง 

เพลงนี้มีประวัติ

                                                         
                            
                                   เพลงนี้มีประวัติ
                          
                           
                             "โอ้ละน้อ   ดวงเดือนเอย
                     
                        ข้อยมาเว้า        รักเจ้าสาวคำดวง
                 โอ้ดึกเเล้วหนอ    พี่ขอลาล่วง
                       อกพี่เป็นห่วง  รักเจ้าดวงเดือนเอย"
         
เพลงนี้มีประวัติ

             
 เพลง ลาวดวงเดือน อันเเสนไพเราะอ่อนหวานเพลงนี้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหมื่นพิชัยไชยมหินทโรดม มีพระนามเดิม ว่า พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์
                เหตุที่ทำให้ทรงนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือนขึ้นมีว่า ราวปี พ.ศ.๒๔๔๖
เมื่อมีพระชันษา ๒๑ ปี พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์  ได้เสด็จขึ้นไป
นครเชียงใหม่   ได้พบรักกับเจ้าชมชื่น  ธิดาของเจ้าราชสัมพันธวงศ์กับ
เจ้าคำกล่าวกันว่าเป็นรักครั้งเเรกที่ไม่อาจทรงหักห้ามพระทัยได้
จึงทรงขอให้พระยานริศราชกิจ
                 พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์เข้าทรงานในกระทรวงเกษตราธิการ
ทรงรับผิดชอบการเลื้ยงไหม  เป็นเหตุให้ต้องเสด็จไปตรวจเยี่ยมศูนย์
การทำไหมในมณฑลต่าง
                  เพลงนี้ได้รับความนิยมตั้งเเต่เเรก  แต่หลังจากที่พระองค์
    เพลงลาวดวงเดือน เป็นเพลงไทยอมตะ อันไพเราะจับใจคนไทยทั้งชาติมานานจนทุกวันนี้ และจะเป็นเพลงอมตะ คู่ชาติไทยสืบไป แต่เบื้องหลังของเพลงมีความเศร้าอันลึกซึ้งแอบแฝงอยู่ ซึ่งน้อยคนนักที่จะได้ทราบ

ผู้ประพันธ์เพลงนี้ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม หรือพระองค์เจ้าชายเพ็ญพัฒนพงศ์ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๕ และเจ้าจอมมารดามงกุฎ ประสูติเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๒๕

พระองค์เจ้าชายเพ็ญ ได้เสด็จไปทรงศึกษาในประเทศอังกฤษเมื่อเสด็จกลับมาแล้วทรงเข้ารับราชการในตำแหน่งผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิการ ใน พ.ศ. ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นกรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม

กรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม ทรงสนพระทัยดนตรีไทยเป็นอย่างมาก เมื่อเสด็จกลับจากอังกฤษแล้ว ทรงโปรดให้มีวงปี่พาทย์วงหนึ่ง เรียกกันว่า วงพระองค์เพ็ญ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเล่นดนตรีได้หลายเครื่อง และยังทรงเป็นนักแต่งเพลงที่สามารถ พระองค์หนึ่ง โดยได้ทรงแต่งเพลง ลาวดวงเดือน ซึ่งเป็นที่นิยมแพร่หลายทั้งในอดีตและปัจจุบัน

ในปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมัยที่ดนตรีไทย โดยเฉพาะปี่พาทย์ได้รับความนิยมแพร่หลาย ตามบ้านท่านผู้มีบรรดาศักดิ์ และวัดวาอาราม ต่างก็มีวงปี่พาทย์เป็นประจำกันมากมาย เจ้านายหลายพระองค์ก็มีวงปี่พาทย์ประจำวัง มีครูบาอาจารย์ไว้ฝึกสอนปรับปรุงคิดประกวดประขันกันอย่างเอาจริงเอาจัง เช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ก็มีวง วังบูรพา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ก็มีวง วังบางขุนพรหม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารก็มีวงปี่พาทย์ชื่อว่า วงสมเด็จพระบรม และพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นพิชัมหินทโรดม ก็มีวงปี่พาทย์วงหนึ่งของพระองค์เรียกว่า วงพระองค์เพ็ญ ซึ่งแต่ลงวงล้วนแต่มีนักดนตรีที่มีฝีไม้ลายมือยอดเยี่ยมทัดเทียมกัน กรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม นอกจากจะทรงสนพระทัยในวงปี่พาทย์ของพระองค์ เยี่ยงเจ้านายท่านอื่นๆแล้ว ยังทรงเป็นนักแต่งเพลงชั้นดี พระองค์หนึ่งด้วย ทรงคิดประดิษฐ์ทำนองเพลงใหม่ๆ แปลกๆอยู่เสมอ พระองค์ทรงโปรดท่วงทำนองลีลาของเพลง ลาวดำเนินทราย เป็นอันมาก เพราะเพลงนี้เป็นเพลงสำเนียงลาวอันอ่อนช้อยนุ่มนวล เห็นภาพพจน์บรรยายกาศของภูมิประเทศ และวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ

ใน พ.ศ. ๒๔๔๖ พระองค์เจ้าชายเพ็ญพัฒนพงศ์เพิ่งสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษมาใหม่ ได้ทรงเสด็จขึ้นไปเที่ยวนครเชียงใหม่ อันเป็นนครแห่งศูนย์กลางวัฒนธรรมล้านนาสมัยนั้น สมัยนั้นพระยานริศราชกิจเป็นข้าหลวงใหญ่อยู่ประจำมณฑลพายัพ ได้จัดการรับเสด็จต้อนรับพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายเพ็ญพัฒนพงค์ อย่างสมพระเกียรติ โดยเจ้าหลวงอินทวโรรสสุริยะวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้จัดการรับเสด็จอย่างประเพณีชาวเหนือโดยแท้ โดยให้ประทับในคุ้มหลวงและเสวยพระกระยาหารแบบขันโตก มีการแสดงละครและดนตรีในคุ้มนี้ด้วย ในงานต้อนรับเสด็จครั้งนี้ เจ้าอินทวโรรสแลเเจ้าแม่ทิพยเนตรได้ชวนเชิญเจ้าพี่เจ้าน้อง และพระญาติวงศ์มาร่วมรับเสด็จโดยพร้อมเพียงกัน ในบรรดาพระญาติวงศ์เจ้านายเชียงใหม่ ปรากฏว่ามี เจ้าราชสัมพันธวงศ์และเจ้าหญิงคำย่น พร้อมด้วยธิดาองค์โต นามว่า เจ้าหญิงชมชื่น อายุเพิ่งย่างเข้า ๑๖ ปี มาร่วมในงานนี้ด้วย เล่ากันว่าเจ้าหญิงชมชื่นมีผิวพรรณผุดผ่องเป็นนวลใย ใบหน้าอิ่มเอิบเปล่งปลั่งดุจพระจันทร์วันเพ็ญ มีเลือดฝาดขึ้นบนใบหน้า จนแก้มเป็นสีชมพู เพราะผิวขาวประดุจงาช้างอยู่แล้ว อีกทั้งเจ้าหญิงชมชื่นเป็นกุลสตรีที่เรียบร้อยอ่อนหวานน่ารัก เจรจาด้วยกระแสเสียงอันไพเราะ ด้วยความงามอันน่าพิศวงประกอบกับความน่ารักนุ่มนวลละมุนละไมจนเป็นที่เลื่องลือไปทั่ว

พระองค์เจ้าเพ็ญ พัฒนพงศ์ เจ้าชายหนุ่มอายุ ๒๑ ปี บังเกิดความสนพระทัยในดรุณีแน่งน้อย อายุ ๑๖ ปีนี้มาก กล่าวกันว่า พระองค์เมื่อได้เห็นเจ้าหญิงชมชื่นก็ถึงกับทรงตะลึง ในความงามอันน่าพิศวงจนเกิดความพิสมัยขึ้นในพระทัยเหมือนกับชายหนุ่มพบคนรักครั้งแรก!!


ในวันต่อมา พระยานิรศราชกิจ ข้าหลวงมณฑลพายัพ เป็นผู้นำพระองค์ไปเยี่ยมเจ้าราชสัมพันธวงศ์ถึงคุ้มหน้าวัดบ้านปิง เจ้าหญิงชมชื่นได้มีโอกาสต้อนรับพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นักเรียนนอกผู้สำเร็จการศึกษาจากอังกฤษพระองค์นี้หลายครั้งหลายหน

นานวันเข้าพระองค์เจ้าชายเพ็ญก็ยิ่งเกิดความปฏิพัทธ์หลงใหลในเจ้าหญิงชมชื่นเป็นยิ่งนัก พระองค์จึงโปรดให้ข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพเป็นเฒ่าแก่เจรจาสู่ขอเจ้าหญิงชมชื่น ให้เป็นหม่อมของพระองค์

แต่การเจรจาสู่ขอกลับได้รับการทัดทานจากเจ้าราชสัมพันธวงศ์ โดขอผัดผ่อนให้ เจ้าหญิงชมชื่นอายุครบ ๑๘ ปี เสียก่อน และตามขนบธรรมเนีมประเพณีของราชสกุลนั้น พระเจ้าลูกเธอพระองค์ใดจะทำการอภิเษกสมรส จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์เสียก่อน เพื่อได้รับเป็นสะใภ้หลวงได้รับยศและตำแหน่งตามฐานะ หากถวายเจ้าหญิงชมชื่นให้ในตอนนี้ เจ้าหญิงก็จะตกอยู่ในฐานะภรรยาน้อยหรือนางบำเรอเท่านั้น

เฒ่าแก่ข้าหลวงใหญ่ยอมจำนนต่อเหตุผลของเจ้าสัมพันธวงศ์ นำความผิดหวังกลับมาทูลให้พระองค์ชายทราบ พระองค์ชายก็ได้รับความผิดหวังครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เพราะเมื่อจะมีรักครั้งแรกทั้งทีก็มีกรรมบันดาลขัดขวางไม่ให้รักสมหวังไม่ได้เชยชมสมใจ ความทุกข์โศกใดจะเทียมเทียบเปรียบปาน

เมื่อผิดหวังก็ต้องเสด็จกลับกรุงเทพด้วยความร้าวรานพระทัย คงปล่อยให้เชียงใหม่เป็นนครแห่งความรักและความหลังของพระองค์

ครั้นถึงกรุงเทพ เรื่องการสู่ขอเจ้าหญิงเมืองเหนือได้แพร่สะพัดไปในหมู่พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารผู้ใกล้ชิด เจ้านาชั้นผู้ใหญ่หลาพระองค์ทรงทัดทานอย่างหนักหน่วง โดยอ้างเหตุผลต่างต่าง นานา 

เป็นอันว่า ความรักของพระองค์ประสบความผิดหวังอย่างสิ้นเชิงทุกประการ

คราใดสายลมเหนือพัดมา... พระองค์ชายของเราก็แสนเศร้ารันทดใจครานั้น... เศร้าขึ้นมาคราใด พระองค์เจ้าชายเพ็ญพัฒนพงศ์ ก็เสด็จไปฟังดนตรีตามวังเจ้านายต่างๆ ทั้ง วังสมเด็จ วังบูรพา และวังบางขุนพรหม ทุกครั้งที่ทรงสดับดนตรีและทรงดนตรีพระองค์จะโปรดเพลง ลาวเจริญศรี เป็นพิเศษ เพราะเป็นเพลงที่นอกจากจะมีความไพเราะอ่อนหวานแล้วยังมีบทร้องที่ว่า

อายุเยาวเรศรุ่นเจริญศรี
พระเพื่อนพี่แพงน้องสองสมร
งามทรงงามองค์อ่อนซ้อน
ดังอัปสรหยาดฟ้าลงมาเอย



บทร้องนี้ ทำให้พระองค์หวนรำลึกถึงโฉมอันงามพิลาส ของเจ้าหญิงชมชื่นผู้เป็นที่รัก พระองค์จึงทรงระบายความรักความอาลัยของพระองค์ ลงในพระนิพนธ์บทร้อง ลาวดวงเดือน เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเจ้าหญิงผู้เป็นเจ้าหัวใจ ดังนี้...

โอ้ละหนอ... ดวงเดือนเอย ข้อยมาเว้า รักเจ้าสาวคำดวง
โอ้ดึกแล้วหนอ ข้อยขอลาล่วง อกพี่เป็นห่วง รักเจ้าดวงเดือนเอย
ขอลาแล้ว เจ้าแก้วโกสุมภ์ ข้อยนี้รักเจ้าหนอขวัญตาเรียม
จะหาไหนมาเทียม เจ้าดวงเดือนเอย
หอมกลิ่นเกสร เกสรดอกไม้ หอมกลิ่นคล้ายคล้ายเจ้าสูของเรียมเอย
หอมกลิ่นกรุ่นครัน หอมนั้นยังบ่เลย เนื้อหอมทรามเชย....เอ๋ย..เราละหนอ

โอ้ละหนอ นวลตาเอย ข้อยนี้รัก แสนรักดังดวงใจ
โอ้เป็นกรรมต้องจำจากไป อกอาลัยเจ้าดวงเดือนเอย
เห็นเดือนแรม เริดร้างเวหา ข้อยเบิ่งดูฟ้า (ละหนอ) เห็นมืดมน
พี่จะทนทุกข์...ทุกข์ทน เจ้าดวงเดือนเอย
เสียงไก่ขันขาน มันหวานเจื้อยแจ้ว ช่างหวานสุดแล้ว หวานแจ้วเจื้อยเอย
ถึงจะหวาน เสนาะ หวานเพราะกระไรเลย บ่เหมือนทรามเชย...เราละหนอ...


นี่เอง เป็นเครื่องผ่อนคลายอารมณ์เศร้าของพระองค์ เป็นอนุสรณ์ เตือนจิตให้สะท้อนรัญจวนหวนคำนึงรำลึกถึงโฉมงามของเจ้าหญิง-ความรัก-ความหลัง คราใดที่ทรงรำลึกถึงเจ้าหญิงชมชื่นพระองค์ก็ทรงใช้ดนตรีเป็นเครื่องปลอบหฤทัยให้คลายเศร้า ถ้าไม่ทรงดนตรีเองก็ให้มหาดเล็กข้าหลวงเล่นให้ฟังด้วย ลาวเจริญศรี และลาวดวงเดือน ซึ่งขาดไม่ได้ตลอดชีวิตของพระองค์ท่าน

กรมหมื่นพิชัมหินทโรดม ทรงมีพระชนมายุน้อยมาก เนื่องจากทรงมีอารมณ์อ่อนไหวละเอียดอ่อน และประกอบกับพระวรกายไม่ค่อยบูรณ์แข็งแรงเท่าไรนัก อีกทั้งทรงหมกมุ่นกับหน้าที่การงาน เพื่อจะให้ลืมความหลังอันแสนเศร้าของพระองค์ที่ฝังใจอยู่ตลอดเวลา อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พระชนม์ชีพของพระองค์สั้นจนเกินไป พระองค์ด่วนสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓ พระชันษา ๒๘ ปีเท่านั้น

เพลงลาวดวงเดือน เพลงนี้ เป็นหลักฐานปรากฏผลงานการแต่งเพลงของพระองค์เพียงเพลงเดียวเท่านั้น เพราะไม่สามารถสืบทราบได้ว่าพระองค์ทรงแต่งเพลงใดขึ้นมาอีกหรือไม่ แม้ว่าจะทรงแต่งเพียงเพลงเดียว ลาวดวงเดือน ก็ดูเหมือนจะเป็นเพลงที่พระองค์ทรงประพันธ์ด้วยชีวิต จิตใจ และวิญญาณ ความรัก-ความหลัง ของพระองค์ทั้งหมดลงในเพลงนี้

เพลงลาวดวงเดือน เป็นเพลงอันประดุจอนุสรณ์แห่งความรักอมตะระหว่าง... พระองค์เจ้าชายเพ็ญกับเจ้าหญิงชมชื่นผู้เลอโฉม และจะเป็นเพลงรักหวานซาบซึ้งตรึงใจ อยู่ในห้วงหัวใจคนไทยทั้งชาติต่อไปอีกนานเท่านาน.


ข้อคิดจากเรื่อง


   เรื่องที่อ่านมีข้อคิดหลายประการ  ดังนี้

๑.ความประทับใจซาบซิ่งกับคนรัก  อารมณ์เศร้าว้าเหว่
๒.ผู้ชื่นชมผลงานศิลปะมิได้จำกัดแต่ว่าจะต้องเป็นผู้ที่อยู่ในสังคมเดียว
๓.การนำผลงานที่มีอยู่เดิมมาดัดเเปลงเสริมแต่งทำให้มีผลงานสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น
๔.การศึกษาชีวประวัติของศิลปินจะทำให้ทราบที่มาของผลงานสิลปะ

กรุงเทพฯ เมื่อร้อยกว่าปี

                   ภาษาไทย ม.3 บทที่9 กรุงเทพฯ เมื่อร้อยกว่าปี

                 ย้อน กลับไปครั้งกรุงเทพฯยังเรียกกันว่าบางกอก เปิดเมืองค้าขายกับชาวต่างชาติ พวกยุโรปเข้ามามีบทบาทในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศสยามเป็นอย่างมาก ภาพพจน์ของประเทศสยามในสายตาของชาวต่างชาติในยุคนั้น จะเป็นอย่างไร ลองไปดูภาพกัน

                ภาพ พระบรมมหาราชวัง บริเวณท่ามหาราช เป็นมุมมองที่เด่นที่สุดมาถึงปัจจุบัน แต่สมัยก่อนมีเรือแจว เรือพายเยอะหน่อย แต่ปัจจุบันสูญหายไปทั้งเรือ ทั้งแพ ไม่ใช่จากการใช้งานที่ไม่สะดวกหลอกครับ สาเหตุหนึ่งจากเรือหางยาวนี่แหละ เพราะเรือหางยาววิ่งเร็ว เกิดคลื่นกระทบแรง เรือไม่มีเครื่องก็จะโคลงมาก แพก็จะโดนคลื่นซัดเสียหาย จึงไม่นิยมใช้และสูญหายไปในที่สุด
 
                หนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ ลีลลูสตราซียง (
L' Illustration) ได้ นำเสนอเรื่องราวของประเทศสยามในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว เป็นสารคดีประกอบภาพลายเส้น เล่าเรื่องราวสภาพความเป็นอยู่ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมประเพณีไทย ในสมัยนั้น โดยบุคคลหรือนักหนังสือพิมพ์ในสมัยนั้นคือนายฟูร์เนอโร (Monsieur Fournereau) ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยศิลปะ L' Ecole des Beaux-Arts 


                ฟู ร์เนอโร ได้เข้ามาศึกษาสภาพสังคมและอารยะธรรมของสยามประเทศอยู่ด้วยกันหลายครั้ง และเขาก็ต้องตื่นตะลึงกับพระราชพิธีอันยิ่งใหญ่พิธีหนึ่ง นั่นคือ พระราชพิธีปลงพระศพของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ที่มีขึ้นในช่วงเวลาของวันที่ ๙ ถึง ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๐๑ โดยมีขบวนเกียรติยศ และประชาชนเข้าร่วมในพระราชพิธีนี้อย่างล้นหลาม และพระราชพิธีถวายพระเพลิงศพ ณ พระเมรุมาศ ก็จัดได้สมพระเกียรติมาก
 




        สภาพเรือนแพริมน้ำทั่วไป

        ใน ปีพ.ศ.๑๔๓๔ ฟูร์เนอโร ได้เดินทางเข้ามากระเทศสยามอีกครั้ง เพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทย เขาได้เก็บข้อมูลอย่างละเอียด โดยวาดภาพและถ่ายภาพคนไทย และศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑ์ เป็นต้น เขาสนใจกับพระปรางค์วัดแจ้งเป็นอย่างมาก ด้วยความสูงตระหง่านงดงาม และมีชื่อเสียงเลื่องลือไปในแดนไกล (สมัยนั้น สิ่งก่อสร้างที่สูงขนาดนี้ก็จัดได้ว่าเป็นตึกระฟ้า ได้ทีเดียว) นอกจากนี้เขายังศึกษาเรื่องศาสนาและราชอาณาจักรสยามโบราณเป็นพิเศษ
 
 




เรือเดินทะเลของฝรั่งเศสชื่อ ลูแตง จอดอยู่หน้าสถานกงสุลฝรั่งเศส ที่ติดกับโรงแรมโอเรียนเตลในปัจจุบัน
 
            ใน ปีพ.ศ.๒๔๓๖ หนังสือพิมพ์ ลีลลูสตราซียง ได้ตีพิมพ์เรื่องราวของประเทศสยามว่า มีบางกอกเป็นเมืองหลวง เป็นที่ตั้งของพระราชวังของพระมหากษัตริย์ไทย เป็นศูนย์กลางทางการเมือง การค้า และศาสนา บางกอกมีประชากรประมาณ 
500,000 คน เป็นเมืองที่สกปรก มีขยะและกลิ่นเหม็น ซึ่งจะพบได้ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นพื้นดินหรือแม่น้ำลำคลอง (นี่ แสดงว่านิสัยมักง่ายของคนไทยนั้นมีมานานแล้วนะ อายเขาไหมล่ะ ) สำหรับทัศนียภาพที่พบเห็นได้ทั่วไปตามแม่น้ำลำคลอง ก็มียวดยานพาหนะทางน้ำเช่น เรือกำปั่น เรือพายเป็นต้น และเรือนแพสำหรับค้าขายและพักอาศัยก็มีอยู่เป็นจำนวนมาก ส่วนบริเวณถนนเจริญกรุง ช่วงบางคอแหลม ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของบางกอก ก็มีบ้านเรือนขนาดเล็กเรียงรายอยู่ทั่วไป 

        ขบวนแห่พระศพของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ในพิธีปลงพระศพ มีขบวนเกียรติยศและประชาชนเข้าร่วมพิธีอย่างล้นหลาม
 
       ฟู ร์เนอโร ยังได้รายงานอีกว่า สยามเป็นเมืองแห่งพระพุทธศาสนา แต่คนไทยก็มีเสรีภาพที่จะนับถือศาสนาอื่นๆได้เช่นกัน นอกจากนี้เขายังได้ไปชมวัดโพธิ์ วัดสุทัศน์ และวัดสระเกศอีกด้วย จึงได้ภาพของการเผาศพที่เกิดจากโรคระบาด ไปนำเสนอ
 

พระเมรุมาศที่ตั้งพระศพพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ
 
        นอก จากในบางกอกแล้ว ฟูร์เนอโร ยังได้แสดงความเห็นว่า ต่างจังหวัดก็ยังมีสถานที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และสิ่งที่น่าสนใจอยู่ไม่น้อย กรุงเทพฯผ่านกาลเวลามา 
100 กว่า ปีก็ย่อมมีสภาพที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดาของการพัฒนา แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่ได้เปลี่ยนไปและไม่ควรเปลี่ยนไป คือสามัญสำนึกของคนไทย ที่ยังยึดมั่นในความเป็นไทย และซึมซับความเป็นไทยไว้ในสายเลือด เฉกเช่นบรรพบุรุษไทยที่ได้ดำรงมาเนิ่นนาน 

การทำพิธีเผาศพ ตอนนั้นอีแร้งก็ยังไม่สูญพันธ์ไปจากเมืองไทย ยืนคอยรับประทานอาหารโปรดอยู่เป็นแถว 

วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556


วันวิสาขบูชา

วันวิสาขบูชา


           วันวิสาขบูชา ขึ้น 15 ค่ำ เดือน ซึ่ง วันวิสาขบูชา 2556 ตรงกับวันที่ 24 พฤษภาคม 2556 ประวัติวันวิสาขบูชา ความสําคัญ วันวิสาขบูชา หมายถึง อะไรเรามีคำตอบ
           วันวิสาขบูชา 2556 ตรงกับวันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม ในปีนี้นับเป็นอภิลักขิตกาลพิเศษ คือเป็นปีที่ครบ 2,600 พุทธศตวรรษ หรือ 2,600 ปี แห่งการอุบัติขึ้นของพระพุทธศาสนา และเชื่อว่าทุกคนรู้จักชื่อวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างวันวิสาขบูชากันดีอยู่แล้ว แต่จะมีสักกี่คนที่ทราบความเป็นมา และความสำคัญของ วันวิสาขบูชา ถ้างั้นอย่ารอช้า...เราไปค้นหาความหมายของ วันวิสาขบูชา และอ่าน ประวัติวันวิสาขบูชา พร้อมๆ กันดีกว่าครับ

 ความหมายของ วันวิสาขบูชา

         
 คำว่า วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" ดังนั้น วิสาขบูชา จึงหมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือน 6
 การกำหนด วันวิสาขบูชา

          วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน ตามปฏิทินจันทรคติของไทย ซึ่งมักจะตรงกับเดือนพฤษภาคม หรือมิถุนายน แต่ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน 8สองหน ก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ กลางเดือน หรือราวเดือนมิถุนายน

          อย่างไรก็ตาม ในบางปีของบางประเทศอาจกำหนด วันวิสาขบูชา ไม่ตรงกับของไทย เนื่องด้วยประเทศเหล่านั้นอยู่ในตำแหน่งที่ต่างไปจากประเทศไทย ทำให้วันเวลาคลาดเคลื่อนไปตามเวลาของประเทศนั้นๆ
ประวัติวันวิสาขบูชา และความสำคัญของ วันวิสาขบูชา

          วันวิสาขบูชา ถือเป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่เกิด เหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เวียนมาบรรจบกันในวันเพ็ญเดือน แม้จะมีช่วงระยะเวลาห่างกันนับเวลาหลายสิบปี ซึ่งเหตุการณ์อัศจรรย์ ประการ ได้แก่...

 1. วันวิสาขบูชา เป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ
           เมื่อพระนางสิริมหามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงพระครรภ์แก่จวนจะประสูติ พระนางแปรพระราชฐานไปประทับ ณ กรุงเทวทหะ เพื่อประสูติในตระกูลของพระนางตามประเพณีนิยมในสมัยนั้น ขณะเสด็จแวะพักผ่อนพระอิริยาบถใต้ต้นสาละ ณ สวนลุมพินีวัน พระนางก็ได้ประสูติพระโอรส ณ ใต้ต้นสาละนั้น ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน ก่อนพุทธศักราช 80 ปี ครั้นพระกุมารประสูติได้ วัน ก็ได้รับการถวายพระนามว่า "สิทธัตถะ" แปลว่า "สมปรารถนา"
          เมื่อข่าวการประสูติแพร่ไปถึงอสิตดาบส ผู้อาศัยอยู่ในอาศรมเชิงเขาหิมาลัย และมีความคุ้นเคยกับพระเจ้าสุทโธทนะ ดาบสจึงเดินทางไปเข้าเฝ้า และเมื่อเห็นพระราชกุมารก็ทำนายได้ทันทีว่า นี่คือผู้จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงกล่าวพยากรณ์ว่า "พระราชกุมารนี้จักบรรลุพระสัพพัญญุตญาณ เห็นแจ้งพระนิพพานอันบริสุทธิ์อย่างยิ่ง ทรงหวังประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ของพระกุมารนี้จักแพร่หลาย" แล้วกราบลงแทบพระบาทของพระกุมาร พระเจ้าสุทโธทนะทอดพระเนตรเห็นเหตุการณ์นั้นทรงรู้สึกอัศจรรย์และเปี่ยมล้นด้วยปีติ ถึงกับทรุดพระองค์ลงอภิวาทพระราชกุมารตามอย่างดาบส
  

            http://www.non-m3.blogspot.com/